วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ระยะทาง

ระยะทาง (Distance) เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ พบว่าตาแหน่งของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือ กล่าวว่าวัตถุจะเลื่อนจากตาแหน่งเดิมไปยังตาแหน่ง ซึ่งอาจเรียกว่า การเคลื่อนที่ แบบเลื่อนตาแหน่ง ถ้าเราทราบตาแหน่งเริ่มต้นเส้นทางการเคลื่อนที่และตาแหน่ง สุดท้ายของการเคลื่อนที่ ก็จะหาระยะทางได้จากความยาวตามเส้นทางของการ เคลื่อนที่นั้  อ่านเพิ่มเติม

การกระจัด

การกระจัด (Displacement) เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหนึ่ง เพื่อให้เข้าใจได้ ถูกต้องชัดเจนต้องบอกทั้งระยะห่างและทิศทาง ปริมาณที่บอกให้ทราบถึงการ เปลี่ยนตาแหน่ง พบว่าตาแหน่งของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือกล่าว ว่าวัตถุเคลื่อนที่ตาแหน่งเริ่มต้นไปยังตาแหน่งสิ้นสุด โดยความยาวที่เป็นเส้นตรงที่ สั้นที่สุดนี้เราเรีย อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่แนวตรง

การเคลื่อนที่แนวตรง การเคลื่อนที่แนวตรง หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวเส้นตรง โดยไม่ออกจากแนวเส้นตรงของการเคลื่อนที่ หรือเรียกว่า การเคลื่อนที่ แบบ 1 มิติ ของวัตถุ เช่น การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง การเคลื่อนที่ของผลมะม่วงที่ร่วงลงสู่พื้น การเคลื่อนที่แนวตรง แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ การเคลื่อนแนวตรงตามแนวราบ และ การเคลื่อนที่แนวตรงตามแน  อ่านเพิ่มเติม

ตรีโกณมิติ

ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมุม, รูปสามเหลี่ยม และฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น ไซน์ และ โคไซน์ มีความเกี่ยวข้องกับเรขาคณิต แม้ว่าจะสรุปไม่ได้อย่างแน่ชัดว่า ตรีโกณมิติเป็นหัวข้อย่อยของเรขาคณิ อ่านเพิ่มเติม

ปริมาณเวกเตอร์

ปริมาณเวกเตอร์


1. สัญลักษณ์ของปริมาณเวกเตอร์
ใช้อักษรมีลูกศรครึ่งบนชี้จากซ้ายไปขวา หรือใช้ตัวอักษรทึบแสดงปริมาณเวกเตอร์ก็ได้
2. เวกเตอร์ที่เท่ากัน
เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์เท่ากัน เมื่อเวกเตอร์ทั้งสองเท่ากันและมีทิศไปทางเดียวกัน
3. เวกเตอร์ลัพธ์ใช้อักษร R
4. การบวก-ลบเวกเตอร์
การบวก-ลบเวกเตอร์ หรือการหาเวกเตอร์ สามารถทำได้ 2 วิธี คือ
1. วิธีการเขียนรูป
2. วิธีการคำนวณ
1.1 การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว มีขั้นตอนดังนี้
(1) เขียนลูกศรตามเวกเตอร์แรกตามขนาดและทิศทางที่กำหนด

(2) นำหางลูกศรของเวกเตอร์ที่ 2 ที่โจทย์กำหนด ต่อหัวลูก  อ่านเพิ่มเติม

สเกลาร์

สเกลาร์ คือปริมาณทางกายภาพที่บ่งบอกขนาดแต่ไม่มีทิศทาง ถือได้ว่าเป็น เทนเซอร์ (tensor) อันดับศูนย์ ค่าของปริมาณสเกลาร์นั้นจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนหรือการย้ายระบบพิกัด แม้แต่การแปลงลอเรนซ์ ตรงข้ามกับปริมาณเวกเตอร์ที่บ่งบอกทั้งขนาดและทิศทาง เช่น เวลา พลังงาน ความยาว อุณหภูมิ เวลา พื้นที่ ปริมาตร อัตราเร็ว

ตัวอย่างสเกลาร์อาทิ ความยาว พลังงาน เวลา อุณหภูมิ ความดัน เช่น ความยาว 2 เมตร อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็นต้น

อย่างไรก็ดี แม้ว่าปริมาณสเกลาร์นั้นจะเป็นปริมาณที่ไม่มีทิศทาง แต่ตัวมันนั้  อ่านเพิ่มเติม