วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

การเคลื่อนที่ของบอลลูน

1. บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 40 m/s เมื่อถึงจุดหนึ่งปล่อยก้อนหินตกลงมา
ก้อนหินตกถึงพื้นใน 10 วินาที
จงหา ก. ความสูงของบอลลูนขณะที่ปล่อยก้อนหิน .......... สูงจากพื้น 100 m
         ข. วัตถุขึ้นไปสูงสุดจากพื้นเท่าไร .........................สูงสุดจากพื้น 180 m
         ค. ความสูงของวัตถุและความเร็วหลังปล่อยวัตถุไปแล้ว 8 วินาที ......สูงจากพื้น 100 m ความเร็ว  40  m      
               

               
คิดวิเคราะห์ :-

ความสูงของบอลลูนคือ การกระจัดของก้อนหิน
บอลลูนลอยขึ้น ด้วย u = 40 m/s
ดังนั้นก้อนหินจะเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็ว u = 40 m/s
ก้อนหินตกถึงพื้นในเวลา t = 10 s

ค่า g = - 10  เพราะทิ อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 


เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ การตกอย่างอิสระวัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งค่าหนึ่ง เรียกว่า ความเร่งโน้มถ่วง (Gravitational acceleration) เขียนแทนด้วย g ซึ่งมีค่า g = 9.80665 m/s^2 แต่ใช้ค่าประมาณ 9.8 หรือ 10 m/s^2 ในการคำนวณ
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง


เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่งดังนั้นสมการในการคำนวณจึงเหมือนกับ สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a เป็น g อ่านเพิ่มเติม

ความเร่ง

ความเร่ง (Acceleration)


ถ้าพิจารณาแล้วพบว่าในแต่ละหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกต่างกัน กล่าวว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง หรือ ความเร่ง

วัตถุที่มีความเร่งมี 3 ลักษณะ คือ

1. อัตราเร็วคงที่ แต่เปลี่ยนทิศทาง

2. อัตราเร็วเปลี่ยนแต่ทิศทางคงเดิม

3. เปลี่ยนทั้งอัตราเร็วและทิศทาง


ความเร่ง (Acceleration) คื  อ่านเพิ่มเติม